อยากให้ลูกดีต้องมีวิธีเลี้ยง
บทความนี้เป็นข้อความรู้จากหลักการ แนวคิดด้านจิตวิทยาการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และ ประสบการณ์ในการเลี้ยงลูกของคุณแม่คนหนึ่งที่ต้องการส่งต่อความรู้
ข้อคิดและวิธีการที่อาจมีประโยชน์ต่อคุณพ่อแม่อีกหลายท่าน
ในการนำไปปรับใช้ประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เป็นอยู่ อันจะส่งผลให้เด็กๆได้รับการเลี้ยงดูอย่างมีความสุขทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ เพื่อเติบใหญ่เป็นบุคคลที่มีพลังกายที่แข็งแรงและมีจิตใจที่เข้มแข็งในการดำเนินชีวิตต่อไป
ดร.วันทนา ปทุมอนันต์
- นักจิตวิทยาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และองค์กร, Coach-PCC-ICF
มองการณ์ไกล คิดถึงวันข้างหน้าเข้าไว้
**ลูก คือคนคนหนึ่งที่เราต้อง มีความสัมพันธ์กับเขาตลอดชีวิต
.....เราอยากให้ความสัมพันธ์ของเรากับลูกเป็นแบบไหน
เราสามารถสร้างได้ตั้งแต่ตอนนี้เลย
เมื่อเวลาที่ลูกโตเป็นวัยรุ่นหรือเป็นผู้ใหญ่ หากเวลาที่เขาอยู่กับเรา แล้วเขารู้สึกอึดอัด ไม่เป็นตัวของตัวเองรำคาญ ไม่สบายใจเสียแล้ว เมื่อถึงตอนนั้นตอนที่เราอยากคุยกับลูก...เขาจะไม่เปิดใจอยากคุยกับเราเลย
คุณพ่อแม่ลอง.. เปิดใจให้กว้างยอมรับทุกอารมณ์ไม่ว่าจะเป็นอารมณ์โกรธ หงุดหงิด โมโห เสียใจ ดีใจของลูกที่เราได้สัมผัสในทุกๆวัน เขาอาจเป็นหรือไม่เป็นอย่างที่เราคาดหวังก็เป็นได้
- ชื่นชมเขาเมื่อเขาทำได้ดี - อยู่เคียงข้างเขาเมื่อวันที่เขาผิดหวัง .. ไม่ซ้ำเติม..ไม่ตำหนิต่อว่า
**เพราะถ้าเรามองการณ์ใกล้ เราก็จะมองเห็นแต่ตัวเอง..ความต้องการของตัวเองที่อยู่เฉพาะหน้าเท่านั้น
**เราจึงจำเป็นต้องหัดมองการณ์ไกล คิดถึงอนาคตวันข้างหน้าเข้าไว้ ...แล้วเราจะรู้ว่าวันนี้เราต้องทำอะไรและทำอย่างไร
ดร.วันทนา ปทุมอนันต์ - นักจิตวิทยาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และองค์กร - Coach PCC - ICF
เมื่อเวลาที่ลูกโตเป็นวัยรุ่นหรือเป็นผู้ใหญ่ หากเวลาที่เขาอยู่กับเรา แล้วเขารู้สึกอึดอัด ไม่เป็นตัวของตัวเองรำคาญ ไม่สบายใจเสียแล้ว เมื่อถึงตอนนั้นตอนที่เราอยากคุยกับลูก...เขาจะไม่เปิดใจอยากคุยกับเราเลย
คุณพ่อแม่ลอง.. เปิดใจให้กว้างยอมรับทุกอารมณ์ไม่ว่าจะเป็นอารมณ์โกรธ หงุดหงิด โมโห เสียใจ ดีใจของลูกที่เราได้สัมผัสในทุกๆวัน เขาอาจเป็นหรือไม่เป็นอย่างที่เราคาดหวังก็เป็นได้
- ชื่นชมเขาเมื่อเขาทำได้ดี - อยู่เคียงข้างเขาเมื่อวันที่เขาผิดหวัง .. ไม่ซ้ำเติม..ไม่ตำหนิต่อว่า
**เพราะถ้าเรามองการณ์ใกล้ เราก็จะมองเห็นแต่ตัวเอง..ความต้องการของตัวเองที่อยู่เฉพาะหน้าเท่านั้น
**เราจึงจำเป็นต้องหัดมองการณ์ไกล คิดถึงอนาคตวันข้างหน้าเข้าไว้ ...แล้วเราจะรู้ว่าวันนี้เราต้องทำอะไรและทำอย่างไร
ดร.วันทนา ปทุมอนันต์ - นักจิตวิทยาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และองค์กร - Coach PCC - ICF
"เมื่อคุณพ่อแม่รู้สึกโกรธลูก"
"เมื่อคุณพ่อแม่รู้สึกโกรธลูก"
การพูดโต้ตอบ การอบรมสั่งสอน การอธิบายให้ลูกเข้าใจถึงสิ่งที่ถูกต้องและเหมาะสม
...อาจจะไม่เกิดประโยชน์เลย......
**เพราะเขาจะไม่ได้ยินในสิ่งที่คุณพยายามบอก
** ลูกจะได้ยินแต่..ความโกรธ ของคุณเท่านั้น
ดร.วันทนา ปทุมอนันต์
- นักจิตวิทยาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และองค์กร
- Coach - PCC - ICF
การพูดโต้ตอบ การอบรมสั่งสอน การอธิบายให้ลูกเข้าใจถึงสิ่งที่ถูกต้องและเหมาะสม
...อาจจะไม่เกิดประโยชน์เลย......
**เพราะเขาจะไม่ได้ยินในสิ่งที่คุณพยายามบอก
** ลูกจะได้ยินแต่..ความโกรธ ของคุณเท่านั้น
ดร.วันทนา ปทุมอนันต์
- นักจิตวิทยาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และองค์กร
- Coach - PCC - ICF
“พฤติกรรมของลูกจะเปลี่ยน …ถ้าเริ่มเปลี่ยนที่ตัวเรา”
เริ่มที่ตัวเรา เปลี่ยนทั้งจากการคิด การพูด และ การกระทำ
consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt
คุณพ่อแม่ทุกคน
ล้วนต้องการให้ลูก ได้ทำในสิ่งที่ดี
ที่ถูกต้องเหมาะสม กันแทบทั้งนั้น
แต่ความต้องการนี้ ..นำมาซึ่ง ความเหนื่อยและหนักใจ เพราะลูกๆมักมีความรู้สึกและความต้องการ กระทำในแบบของ ตนเอง
ยิ่งกับลูกๆวัยกำลังโต ( 7-13 ปี) ด้วยแล้ว **บางบ้านเรียกว่าอาการ “สาหัส” ทำให้บอบช้ำทั้งจิตและใจไปตามๆกัน ทั้งบ้าน
**แล้วจะทำยังไงล่ะ !!!
**ขั้นแรก ..กลับมาที่ตัวเองให้ได้ค่ะ..
**กลับมาที่ตัวเราพ่อแม่ก่อน ..ก่อนจะอยากไปปรับเปลี่ยนลูก
**กลับมาถามตัวเองว่า
- เราเป็นอย่างที่ลูกอยากให้เป็นหรือยัง?
- เวลาคุยกับลูกอารมณ์ของเราเป็นอย่างไร?
- ตลอดเวลาได้คุยกับลูก เราคำนึงถึงความรู้สึกของเขาไหม?
- ในขณะที่คุย เรามองในมุมของเราอย่างเดียวเลยไหม?
- เรามองถึงความคิดในมุมของเขาหรือเปล่า มุมที่มาจากประสบการณ์ อายุเท่าเขานะคะ
**ลองค่อยๆนำไปคิดทบทวนดูนะคะ
ดร.วันทนา ปทุมอนันต์
- นักจิตวิทยาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และองค์กร - Coach PCC - ICF
แต่ความต้องการนี้ ..นำมาซึ่ง ความเหนื่อยและหนักใจ เพราะลูกๆมักมีความรู้สึกและความต้องการ กระทำในแบบของ ตนเอง
ยิ่งกับลูกๆวัยกำลังโต ( 7-13 ปี) ด้วยแล้ว **บางบ้านเรียกว่าอาการ “สาหัส” ทำให้บอบช้ำทั้งจิตและใจไปตามๆกัน ทั้งบ้าน
**แล้วจะทำยังไงล่ะ !!!
**ขั้นแรก ..กลับมาที่ตัวเองให้ได้ค่ะ..
**กลับมาที่ตัวเราพ่อแม่ก่อน ..ก่อนจะอยากไปปรับเปลี่ยนลูก
**กลับมาถามตัวเองว่า
- เราเป็นอย่างที่ลูกอยากให้เป็นหรือยัง?
- เวลาคุยกับลูกอารมณ์ของเราเป็นอย่างไร?
- ตลอดเวลาได้คุยกับลูก เราคำนึงถึงความรู้สึกของเขาไหม?
- ในขณะที่คุย เรามองในมุมของเราอย่างเดียวเลยไหม?
- เรามองถึงความคิดในมุมของเขาหรือเปล่า มุมที่มาจากประสบการณ์ อายุเท่าเขานะคะ
**ลองค่อยๆนำไปคิดทบทวนดูนะคะ
ดร.วันทนา ปทุมอนันต์
- นักจิตวิทยาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และองค์กร - Coach PCC - ICF
ถ้าคุณพ่อแม่มีความเชื่อว่า...
เด็กทุกคนมีศักยภาพในตนเอง
เมื่อคุณพ่อแม่ปิดกั้นโอกาสที่ลูกจะได้เรียนรู้ โดยไม่รู้ตัว หรือไม่ได้ตั้งใจ หลายครั้งที่คุณพ่อแม่
อาจปิดกั้นโอกาสที่ลูกจะได้เรียนรู้ โดยไม่รู้ตัว หรือไม่ได้ตั้งใจ
**เพียงเพราะเห็นว่ามันน่าจะยากเกินไปสำหรับลูก เช่น
-การใส่เสื้อผ้ายากเกินไปสำหรับเด็กอนุบาล 1
-การวางแผนกิจกรรมช่วงปิดเทอมในแต่ละวันของเด็กประถม 1
-การจัดเวลาของเด็กมัธยมปีที่ 1 ในการใช้โทรศัพท์ การไปเที่ยวกับ เพื่อน และการอ่านหนังสือด้วยตนเอง เป็นต้น**
**ลองท้าทายความสามารถของลูกดู (ให้โอกาสลูกได้ทดลองใช้ศักยภาพ ความสามารถในการดูแลตนเอง)
** แล้วคุณจะรู้ว่า ลูกทำอะไรได้มากกว่าที่เราคิด
**สิ่งที่ลูกจะได้ คือได้เรียนรู้ทักษะของการใช้ชีวิตเพิ่มขึ้น ฝึกคิด ฝึกหัดรับผิดชอบตัวเองมากขึ้น
ซึ่งในการเรียนรู้ครั้งนี้จะไม่มี ผิด- ถูก.. ใช่-ไม่ใช่ ..ชอบ-ไม่ชอบ ..มีแต่ลูกได้เรียนรู้อะไรบ้าง และเรารู้ว่าความสามารถของลูกเรามาถึงไหนแล้ว
** หน้าที่เรา คือ การเฝ้าดู – รับรู้ - เข้าใจ และ พร้อมสนับสนุนเพื่อกระตุ้นให้เกิดพัฒนาการในตัวเด็ก มากยิ่งขึ้น
ดร.วันทนา ปทุมอนันต์
- นักจิตวิทยาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และองค์กร
- Coach-PCC-ICF
**เพียงเพราะเห็นว่ามันน่าจะยากเกินไปสำหรับลูก เช่น
-การใส่เสื้อผ้ายากเกินไปสำหรับเด็กอนุบาล 1
-การวางแผนกิจกรรมช่วงปิดเทอมในแต่ละวันของเด็กประถม 1
-การจัดเวลาของเด็กมัธยมปีที่ 1 ในการใช้โทรศัพท์ การไปเที่ยวกับ เพื่อน และการอ่านหนังสือด้วยตนเอง เป็นต้น**
**ลองท้าทายความสามารถของลูกดู (ให้โอกาสลูกได้ทดลองใช้ศักยภาพ ความสามารถในการดูแลตนเอง)
** แล้วคุณจะรู้ว่า ลูกทำอะไรได้มากกว่าที่เราคิด
**สิ่งที่ลูกจะได้ คือได้เรียนรู้ทักษะของการใช้ชีวิตเพิ่มขึ้น ฝึกคิด ฝึกหัดรับผิดชอบตัวเองมากขึ้น
ซึ่งในการเรียนรู้ครั้งนี้จะไม่มี ผิด- ถูก.. ใช่-ไม่ใช่ ..ชอบ-ไม่ชอบ ..มีแต่ลูกได้เรียนรู้อะไรบ้าง และเรารู้ว่าความสามารถของลูกเรามาถึงไหนแล้ว
** หน้าที่เรา คือ การเฝ้าดู – รับรู้ - เข้าใจ และ พร้อมสนับสนุนเพื่อกระตุ้นให้เกิดพัฒนาการในตัวเด็ก มากยิ่งขึ้น
ดร.วันทนา ปทุมอนันต์
- นักจิตวิทยาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และองค์กร
- Coach-PCC-ICF
แบบไหน….คือ “การเปิดใจให้กว้าง” สำหรับพ่อแม่ในการรับฟังลูก
เมื่อลูกอยู่ในช่วงวัยรุ่น (12-18 ปี)
เมื่อลูกอยู่ในช่วงวัยรุ่น (12-18 ปี) ซึ่งเป็นช่วงที่เด็กมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วเมื่อเทียบกับช่วง อื่นๆทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ
ส่งผลให้ทั้งตัวเด็กและคุณพ่อแม่ **ต้องมีการปรับตัว ปรับใจให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ถ้าพ่อแม่ ..เปิดใจให้กว้างมากขึ้น
- รับฟังอย่างเข้าใจ ว่าเขารู้สึกอะไร เขาคิดอะไร
- เปิดใจมองดูเขาอย่างที่เขาคิด อย่างที่เขาเป็น
- ไม่พยายามเปลี่ยนเขา แต่ พยายามพูดคุยถามถึงความคิด ความรู้สึกของเขา ประเด็นที่เขาให้ความสำคัญเพื่อเข้าใจเขามากขึ้น
** พยายามเข้าใจลูกมากขึ้นว่า…เขาก็กำลังปรับตัวให้เข้าที่เข้าทาง ทั้งความคิด คำพูดคำจา สีหน้าท่าท่าง และพฤติกรรมอื่นๆ
**คุณก็จะใจเย็นลง และยอมรับธรรมชาติของลูกได้มากขึ้น
“ลูกจะรับรู้ได้ว่าเราคือคนที่เข้าใจและยอมรับเขา…ในสิ่งที่เขาเป็น” ซึ่งการรับรู้นี้จะช่วยลูกให้มีความมั่นคง และมั่นใจในการปรับตัวมากยิ่งขึ้น
ดร.วันทนา ปทุมอนันต์
- นักจิตวิทยาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และองค์กร
- Coach-PCC-ICF
เด็กๆต้องการความช่วยเหลือ และให้กำลังใจ
Empower your kids
consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt
ไม่ว่าท่านจะมีลูกอยู่ในวัยใดก็ตามพ่อแม่ทุกคนรักลูกอยากให้ลูกได้ดีและพยายามแสดงแสวงหาวิธีที่ดีที่สุดในการเลี้ยงลูก
เมื่อพูดถึงการสร้างวินัยพ่อแม่หลายคนคิดถึงเรื่องการลงโทษ การตี การมีน้ำตา การมีปัญหากัน เกิดความเจ็บปวดทั้งสองฝ่ายทั้งพ่อแม่และลูก
การสร้างวินัยเชิงบวก เป็นมุมมองใหม่ด้วยกลยุทธ์ ที่สามารถนำไปสู่การร่วมมือกัน การสร้างวินัยจากความรักและการเอาใจใส่ต่อกัน
“การทำให้เด็กได้เรียนรู้ถึงผลการกระทำของตน…ด้วยตนเอง”ซึ่งจะเกิดเป็นการเรียนรู้และสามารถช่วยสร้างวินัยให้เกิดกับลูกได้
การสร้างวินัยที่ดีให้ลูกเป็นสิ่งที่ไม่ยากหากพ่อแม่สามารถเข้าใจได้ว่า ลูกกำลังเรียนรู้ที่จะมีประสบการณ์ชีวิตของเขา การเรียนรู้ของเขามีทั้งผิดและถูก ในการลองผิดลองถูกของลูก
พ่อแม่ซึ่งมีประสบการณ์มากกว่าจึงต้องใช้ความพยายามและอดทนอย่างสูงในการอบรมบ่มเพาะลูกให้เติบโตเป็นคนคุณภาพ
ดร.วันทนา ปทุมอนันต์
- นักจิตวิทยาพัฒนาศักยภาพมนุษย์ และองค์กร
- Coach-PCC-ICF